โครงการนวัตกรรม

1.โครงการปุ๋ยชีวภาพจากเชื้อจุลินทรีย์กลุ่มตรึงไนโตรเจนได้อย่างอิสระ


วัตถุประสงค์
            1.เพื่อพัฒนาการผลิตปุ๋ยชีวภาพจากเชื้อจุลินทรีย์กลุ่มตรึงไนโตรเจนได้อย่างอิสระ
            2.เพื่อวิเคราะห์คุณภาพและทดสอบประสิทธิภาพของปุ๋ยสูตรต่าง ๆ ในนาข้าว

นักวิจัย   :   ศ. เกียรติคุณ ดร. นันทกร บุญเกิด และ รศ.ดร.โชคชัย วนภู  (สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)
การได้รับการสนับสนุน  :  สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน)

image
งานแถลงข่าวโครงการ ร่วมกับรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
และ รศ.ดร.โชคชัย วนภู
image
ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์  ได้รับรางวัลสุดยอดธุรกิจนวัตกรรมแห่งชาติ
จากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.โครงการนวัตกรรมสารชีวภัณฑ์กำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าว


วัตถุประสงค์  
            1.เพื่อพัฒนาการผลิตสารชีวภัณฑ์จากเชื้อราบิวเวอร์เรียที่มีคุณสมบัติในการป้องกันกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในระดับนำร่อง
            2.เพื่อทดสอบประสิทธิภาพและเทคนิคการใช้เชื้อราบิวเวอร์เรียให้มีประสิทธิภาพการป้องกันและกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าวทดสอบ

นักวิจัย  : รศ.ดร.โชคชัย วนภู (สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)
การได้รับการสนับสนุน  :  สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน)

image
วงจรการเข้าทำลายของเชื้อราบิวเวอร์เรีย
ในการกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าว
image
ได้รับรางวัลสุดยอดธุรกิจนวัตกรรมแห่งชาติ
จากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 

3.โครงการ ARDA หัวเชื้อจุลินทรีย์ประสิทธิภาพสูงสำหรับการเกษตรเชิงพาณิชย์


วัตถุประสงค์
            1.เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ต่อการเกษตร โดยเน้นการจัดการดินเป็นหลัก เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และลดต้นทุนผลิตจากการใช้ปุ๋ยเคมี
            2. เพื่อพัฒนาและต่อยอดผลิตภัณฑ์ในเชิงธุรกิจ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัย ราคาไม่สูง และลดการนำเข้าปุ๋ยเคมีจากต่างประเทศ

หน่วยงานวิจัย  :  กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การได้รับการสนับสนุน  :  สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน)

image
พิธีลงนามสัญญาถ่ายทอดเทคโนโลยี
image
ประชาสัมพันธ์โครงการ  ARDA  ร่วมกับประชารัฐ
4.โครงการ Speed 5 สารชีวภัณฑ์สำหรับย่อยสลายฟางข้าวและตอซัง


วัตถุประสงค์
            1. เพื่อพัฒนาการผลิตสารชีวภัณฑ์จากเชื้อจุลินทรีย์ผสมหลายสายพันธุ์ที่มีคุณสมบัติในการย่อยสลายตอซังข้าวและฟางข้าวในระดับนำร่อง
            2. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพและเทคนิคการใช้เชื้อจุลินทรีย์ผสมผสานหลายสายพันธุ์ให้มีประสิทธิภาพการย่อยสลายตอซังข้าวในนาข้าวทดสอบ

นักวิจัย :   ดร.เสียงแจ๋ว พิริยพฤนต์  (นักวิจัยอาวุโส กรมพัฒนาที่ดิน)
การได้รับการสนับสนุน : สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน)

image
การใช้สารชีวภัณฑ์สำหรับย่อยสลายฟางข้าวและตอซัง (Speed 5)ในนาข้าว
image
ร่วมงานแสดงเทคโนโลยี Speed 5 กับ ครม.สัญจร
ณ  สวนสนประดิพัทธ์  จ.ประจวบคีรีขันธ์
5.โครงการ ?บีที ไฮบริด? สารชีวภัณฑ์ประสิทธิภาพสูงสำหรับกำจัดหนอนศัตรูพืช


วัตถุประสงค์ 
            1.เพื่อพัฒนาการผลิตสารชีวภัณฑ์จากเชื้อ Bacillus thuringiensis สายพันธุ์ที่มีคุณสมบัติในการควบคุมหนอนศัตรูพืชในระดับการค้า
            2.เพื่อทดสอบประสิทธิภาพและเทคนิคการใช้เชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ให้มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดหนอนศัตรูพืชในพืชทดสอบหลายชนิด

นักวิจัย :  ศ.ดร.จริยา จันทร์ไพแสง สาขากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การได้รับการสนับสนุน : สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน)

image
การทดสอบประสิทธิภาพบีทีไฮบริดกับหนอนห่อใบข้าวในห้องปฏิบัติการ
image
อาการของหนอนห่อใบข้าวตายเนื่องจากได้รับเชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis
 
6.โครงการนวัตกรรมสารชีวภัณฑ์กระตุ้นความหอมในข้าวหอมมะลิ


วัตถุประสงค์
             1.เพื่อพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์สารชีวภัณฑ์ที่สามารถกระตุ้นสารสร้างความหอม  2AP ในข้าวหอมมะลิ
             2.เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

นักวิจัย :  ศาสตราจารย์.ดร. อภิชาติ วรรณวิจิตร 
(ศูนย์ วิทยาศาสตร์ข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสน )

การได้รับการสนับสนุน :  สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน)

image
ทดสอบกลิ่นโดยวิธี Headspace-GAS chromatography
image
สารชีวภัณฑ์กระตุ้นความหอมในข้าวหอมมะลิ
7 โครงการ Phopython เหยื่อโปรโตซัวกำจัดหนูจากมูลงูเหลือม

วัตถุประสงค์
           1.เพื่อพัฒนาต้นแบบกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์เหยื่อโปรโตซัวกำจัดหนูจากมูลงูเหลือม
           2. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ต้นแบบ และยื่นขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์

หน่วยงานวิจัย  :  กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การได้รับการสนับสนุน :  สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน)

image
ทดสอบประสิทธิภาพในหนูขาวและตรวจสอบคุณภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์
image
เชื้อ Sarcocystis singaporensis   ส่องภายใต้กล้องจุลทรรศน์
8.โครงการผลิตชีวภัณฑ์เชื้อราเขียวเมตาไรเซียมชนิดสดอัดเม็ด



วัตถุประสงค์ 
            1. เพื่อพัฒนาต้นแบบการผลิตชีวภัณฑ์เชื้อราเขียวเมตาไรเซียมชนิดสดอัดเม็ด
            2. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพและเทคนิคการใช้เชื้อรา Metarhizium sp. ให้มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดด้วงแรด

นักวิจัย :  คุณเสาวนิตย์  โพธิ์พูนศักดิ์ 
(กองกีฏและสัตววิทยา  กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์)

image
ดร.สุวิทย์ ชัยเกียรติยศ  อดีตอธิบดีกรมวิชาการเกษตร
ร่วมลงนามการถ่ายทอดการผลิตเชื้อราเขียวเมตาไรเซียม
และเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการ
image
ผลิตเชื้อสดและทดสอบประสิทธิภาพในด้วงแรดมะพร้าว          
9.โครงการพัฒนาการผลิตสารไบโอโพลิเมอร์


วัตถุประสงค์
          1.เพื่อพัฒนาต้นแบบผลิตสารไบโอโพลิเมอร์มีคุณภาพสูง และมีประสิทธิภาพในการใช้งาน
          2. เพื่อสอบการใช้สารสารไบโอโพลิเมอร์ในพืชทางการเกษตร ให้มีประสิทธิภาพสูงในการเจริญเติบโตของพืช

นักวิจัย :  ผศ.ดร.รัฐ   พิชญางกูร  (หัวหน้าศูนย์วัสดุชีวภาพไคติน-ไคโตซาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

image
ภูตะวันแอคทีฟ
image
นักวิจัย
10.โครงการพัฒนาสารส่งเสริมประสิทธิภาพการเจริญเติบโต


วัตถุประสงค์
           1. เพื่อพัฒนาผลผลิตภัณฑ์สารส่งเสริมประสิทธิภาพการเจริญเติบโตให้มีคุณภาพสูง
           2.เพื่อทดสอบการใช้สารส่งเสริมประสิทธิภาพการเจริญเติบโต ในพืชทางการเกษตรให้มีประสิทธิภาพสูงในการเจริญเติบโตของพืช

นักวิจัย : ดร. ศุภพงษ์ ภูวพัฒนพันธุ์  (คณะอุตสาหกรรมเกษตร ม.เกษตรศาสตร์)

image
ทดสอบการใช้สารส่งเสริมประสิทธิภาพการเจริญเติบโต
image
ภูตะวันซุปเปอร์โกล์ด
11.โครงการการจัดห้องปฏิบัติการและทดสอบการผลิตแบคทีเรียกลุ่ม PGPR และ Bio-control


วัตถุประสงค์
            1. เพื่อให้ได้ห้องปฏิบัติการแบคทีเรีย ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
            2.เพื่อให้ได้ระบบการผลิต ที่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากแบคทีเรียที่มีประสิทธิภาพ และคุณภาพสูง

นักวิจัย :          ศ.ดร. นันทกร  บุญเกิด
                        (สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี)

การได้รับการสนับสนุน :   โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (iTAP)  , สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

image
การขยายหัวเชื้อจุลินทรีย์กลุ่ม PGPR และ Bio-control
image
ปุ๋ยชีวภาพ PGPR
12 .โครงการจัดห้องปฏิบัติการและผลิตเชื้อราในการควบคุมโรคพืชและแมลงศัตรูพืช


วัตถุประสงค์
             1. เพื่อให้ได้ห้องปฏิบัติการและกระบวนการผลิต การผลิตเชื้อราที่กล่าวข้างต้นเพื่อใช้ในการควบคุมโรคพืชและแมลง
             2.เพื่อให้ได้ระบบการผลิต ที่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์เชื้อราในการควบคุมโรคพืชและแมลงศัตรูพืชที่มีประสิทธิภาพสูง

นักวิจัย : ศ.ดร. หนึ่ง เตียอำรุง  สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การได้รับการสนับสนุน :  โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย  (iTAP)  

image
การขยายเชื้อจุลินทรีย์ในห้องปฏิบัติการ
image
การขยายเชื้อราในอาหารแข็ง (ข้าวฟ่าง)
13.โครงการผลิตขยายพันธุ์แตนเบียนเชิงการค้าเพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช


วัตถุประสงค์
            1.เพื่อให้บริษัทได้กระบวนการผลิตแตนเบียนเชิงการค้า
            2.เพื่อให้บริษัทได้โรงงานต้นแบบผลิตแตนเบียนเชิงการค้า

นักวิจัย :  ดร. รุจ  มรกต
การได้รับการสนับสนุน :  โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (iTAP)  

image
แตนเบียน  Anagyrus lopezi
image
การขยายพันธุ์แตนเบียน
14.โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีปุ๋ยชีวภาพ  กลุ่มเชื้อจุลินทรีย์ตรึงไนโตเจน พีจีพีอาร์ (PGPR)  กรมวิชาการเกษตร
image